วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

คุณลักษณะของพลเมืองดี

         คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

 การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ

         ความล้มเหลวของระบบประชาธิปไตย โดยผู้แทนได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักวิชาการจึงได้เสนอทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาและจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตย โดยการเสนอระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมาทดแทน   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

 สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย

         การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ

          กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นการกำหนดสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ของบุคคล
          

          สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ซึ่งกฎหมายรับรอง คุ้มครองให้กับบุคคล เช่น สิทธิทางการเมือง สิทธิในทรัพย์สิน  อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

 ข้อตกลงระหว่างประเทศ

คำนิยามข้อตกลงระหว่างประเทศ

          บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง  ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศ  ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่าง ประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ  อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

          กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในรูปแบบต่างๆ  มานาน ประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็น   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

 องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน

          คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิก  ทั้งหมด  47  ประเทศ วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ    อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 8

 การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

          ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 การติดต่อสื่อสารทำได้ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ในโลก มีผู้รู้กล่าวว่าปัจจุบัน เป็นยุคของข่าวสารข้อมูล” การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำได้กว้างขวางขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจการเมืองและ   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8

 การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

          การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความ ขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไทย
      
ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น  เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะ อ่านเพิ่มเติม



วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ



ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

       หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน

       เป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กฏหมาย



กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้[1] กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงก อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข



ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไทย   ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น  เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดี



พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัฒนธรรม



วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม



ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น สาเหตุของปัญหาสังคม 1.เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การเปลี่ยนเป็นสังคมเมือง การเปลี่ยนจากสังคมเกษ อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้างทางสังคม



สังคมมนุษย์แม้ว่าจะมีขนาดของสังคมหรือลักษณะเฉพาะของสังคมแตกต่างกัน  แต่เมื่อกล่าวถึงโครงสร้างทางสังคมโดยทั่วไปหรือโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมเบื้องต้นแล้ว ทุกสังคมต่างมีองค์ประกอบสำคัญอยู่บนพื้นฐานสองประการที่สำคัญคือกลุ่มสังคมและสถาบัน อ่านเพิ่มเติม